‘อีอีซี’ สร้างเมืองอัจฉริยะ ‘EEC Capital city’ รับเป้าหมายไทยสู่ Net Zero
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) ร่วมสัมมนา POSTTODAY Thailand Smart City 2025 “การจัดการเมืองอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีและ AI เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต”
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) ร่วมสัมมนา POSTTODAY Thailand Smart City 2025 “การจัดการเมืองอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีและ AI เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต”
“BEDO” เผยแพร่ความหลากหลายทางชีวภาพ กับการสร้างโอกาสทางธุรกิจชีวภาพด้วยระบบ AI แก่ทุกภาคส่วน ดันเป็น Soft Power
เนคเทค สวทช. พัฒนา NomadML แพลตฟอร์มผลิตโมเดล AI ฟังก์ชัน computer vision ในรูปแบบใช้งานง่าย วิธีเทรนไม่ซับซ้อน ที่สำคัญไม่ต้องเขียนโค้ด เหมาะทั้งการใช้ทดสอบระบบหรือ Proof of Concept (PoC) และการผลิตโมเดล AI เพื่อใช้งานจริง
แกะกล่องงานวิจัย : ‘บอทโรคข้าว’ แชตบอตให้บริการวินิจฉัยโรคด้วย AI ยับยั้งปัญหาอย่างทันท่วงที ให้บริการฟรีผ่านแอปพลิเคชันไลน์
‘สตรอว์เบอร์รี’ เป็นหนึ่งในพืชเศรษฐกิจของไทยที่สร้างรายได้ให้เกษตรกรภาคเหนือมหาศาล ทั้งด้านการจำหน่ายผลสดและสินค้าแปรรูป รวมไปถึงการสร้างรายได้ผ่านการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยว โดยเปิดให้นักท่องเที่ยวได้เดินชมพื้นที่สวนและเลือกเก็บผลสตรอว์เบอร์รีสดกลับไปรับประทาน อย่างไรก็ตามหนึ่งในความเสี่ยงสูงที่เกษตรกรต้องเผชิญในการทำธุรกิจเป็นประจำทุกปี คือ การที่ต้นสตรอว์เบอร์รีติดโรค ซึ่งบางโรคมีความร้ายแรงถึงขั้นสูญเสียผลผลิตยกแปลง หากไม่ได้รับการดูแลตั้งแต่เริ่มต้น
ประเทศไทยผลิตข้าวได้มากกว่า 26 ล้านตันต่อปี เป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกข้าวรายสำคัญอันดับ 4 ของโลก หากแต่รายได้ที่นำกลับเข้าประเทศมากกว่าแสนล้านบาทต่อปีนี้กลับไม่ได้สะท้อนถึงผลกำไรที่เกษตรกรควรได้รับ เพราะชาวนาไทยส่วนใหญ่ยังตกอยู่ในวังวนของการ ‘ทำมากแต่ได้น้อย’
รัฐบาลเชื่อมั่นโครงการ “เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล (EECd)” ช่วยดึงดูดผู้ประกอบการอุตสาหกรรมแห่งอนาคต เตรียมเปิดโครงการฯ นำร่อง 67 นางสาวรัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ปัจจุบันทั่วโลกต่างมุ่งยกระดับอุตสาหกรรมในประเทศสู่อุตสาหกรรม 4.0 หรือยุคที่เครื่องจักรแต่ละเครื่องสามารถสื่อสารถึงกันและกัน (Cyber-physical System) และสื่อสารกับมนุษย์ได้แบบเรียลไทม์ เพื่อให้ผู้ดูแลระบบสามารถตรวจสอบและสั่งการการทำงานของเครื่องจักรได้สะดวกจากทุกที่ทุกเวลา ลดขั้นตอนการทำงาน ลดความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นในระบบ
ปัจจุบันโลกขับเคลื่อนด้วยข้อมูลปริมาณมหาศาล องค์กรชั้นนำทั่วโลกต่างใช้เทคโนโลยีคำนวณในการวิเคราะห์ข้อมูลและจำลองแบบเพื่อการวิจัยและพัฒนางานที่มีความท้าทายสูง เพื่อทลายขีดจำกัดของกรอบงานเดิม ในบางกรณีสามารถลดเวลาในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก 6 เดือนเหลือเพียง 2 สัปดาห์เท่านั้น อย่างไรก็ตามที่ผ่านมามีองค์กรเพียงส่วนน้อยที่สามารถวิจัยโดยใช้แบบจำลองที่แม่นยำสมจริง
อุตสาหกรรมการผลิตอ้อยเพื่อการแปรรูปเป็นน้ำตาลของประเทศไทยมีศักยภาพในการแข่งขันระดับโลก เนื่องจากมีข้อได้เปรียบเรื่องต้นทุนการผลิตอ้อยต่ำ และยังมีทำเลที่ตั้งของประเทศอยู่ในภูมิภาคที่มีความต้องการบริโภคน้ำตาลสูง ทำให้ต้นทุนการส่งออกถูกกว่าผู้ผลิตในทวีปอื่น ส่งผลให้ไทยมีสถิติการส่งออกน้ำตาลเป็นอันดับต้นของโลก สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนการเติบโตของอุตสาหกรรมการผลิตอ้อยและน้ำตาลจากต้นน้ำสู่ปลายน้ำ ด้วยการทำวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยี
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)